วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

ประวัติความเป็นมา

  • อุ้มผางเดิมเป็นเมืองหน้าด่านทางชายแดนตะวันตกของประเทศไทย ชาวกะเหรี่ยง อาศัยอยู่ทั้งหมด ภายหลังจึงมีคนไทยจากภาคเหนืออพยบมาตั้งถิ่นฐาน เมืองนี้จึง เป็นจุดตรวจตราชาวพม่าที่เดินทางมาค้าขายในเขตไทย มีเจ้าหน้าที่คอยตรวจ เอกสารเดินทางข้ามชายแดน ซึ่งสมัยก่อนจะนำเอกสารใส่กระบอกไม้ไผ่มีฝาปิด มิดชิด เพื่อช่วยป้องกันฝนและการฉีกขาดระหว่างการเดินทางแรมเดือนในป่าได้ เมื่อมาถึงอุ้มผางก็จะเปิดกระบอกไม้ไผ่ที่เก็บเอกสาร เพื่อแสดงให้เจ้าหน้าที่ตรวจ ประทับตรา เอกสารนี้ เรียกเป็นภาษากะเหรี่ยงว่า "อุ้มผะ" ต่อมาได้เพี้ยนไปเป็น "อุ้มผาง" ซึ่งเป็นชื่อเรียก อำเภอในปัจจุบัน จุดอุ้มผะหรือจุดเปิดกระบอกไม้ไผ่นี้ ตั้งอยู่ที่ บ้านกุยเคลอะ ตำบลแม่กลอง ปัจจุบันคือ บ้านกุดเลอต่อ ตำบลแม่จัน

  • อำเภออุ้มผางปัจจะบันแบ่งการปกครองออกเป็น 4 ตำบล คือ อุ้มผาง แม่กลองใหม่ แม่ละมุ้ง แม่จัน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยง มีหมู่บ้านใหญ่ๆ เช่น บ้านปะหละทะ บ้านโคทะ บ้านเปิ่งเคลิ่ง บ้านแม่จัน บ้านทิโพจิ และบ้านเลตองลุ
ประวัติความเป็นมา

  • อุ้มผางเดิมเป็นเมืองหน้าด่านทางชายแดนตะวันตกของประเทศไทย ชาวกะเหรี่ยง อาศัยอยู่ทั้งหมด ภายหลังจึงมีคนไทยจากภาคเหนืออพยบมาตั้งถิ่นฐาน เมืองนี้จึง เป็นจุดตรวจตราชาวพม่าที่เดินทางมาค้าขายในเขตไทย มีเจ้าหน้าที่คอยตรวจ เอกสารเดินทางข้ามชายแดน ซึ่งสมัยก่อนจะนำเอกสารใส่กระบอกไม้ไผ่มีฝาปิด มิดชิด เพื่อช่วยป้องกันฝนและการฉีกขาดระหว่างการเดินทางแรมเดือนในป่าได้ เมื่อมาถึงอุ้มผางก็จะเปิดกระบอกไม้ไผ่ที่เก็บเอกสาร เพื่อแสดงให้เจ้าหน้าที่ตรวจ ประทับตรา เอกสารนี้ เรียกเป็นภาษากะเหรี่ยงว่า "อุ้มผะ" ต่อมาได้เพี้ยนไปเป็น "อุ้มผาง" ซึ่งเป็นชื่อเรียก อำเภอในปัจจุบัน จุดอุ้มผะหรือจุดเปิดกระบอกไม้ไผ่นี้ ตั้งอยู่ที่ บ้านกุยเคลอะ ตำบลแม่กลอง ปัจจุบันคือ บ้านกุดเลอต่อ ตำบลแม่จัน

  • อำเภออุ้มผางปัจจะบันแบ่งการปกครองออกเป็น 4 ตำบล คือ อุ้มผาง แม่กลองใหม่ แม่ละมุ้ง แม่จัน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยง มีหมู่บ้านใหญ่ๆ เช่น บ้านปะหละทะ บ้านโคทะ บ้านเปิ่งเคลิ่ง บ้านแม่จัน บ้านทิโพจิ และบ้านเลตองลุ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น